Helping The others Realize The Advantages Of ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า
Helping The others Realize The Advantages Of ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า
Blog Article
ผ่าฟันคุด จำเป็นหรือไม่ หลังการผ่าตัดเพื่อถอนฟันคุดดูแลยังไง?
การเตรียมตัวก่อนไปผ่าฟันคุดมีดังนี้
เพื่อป้องกันฟันข้างเคียงผุ – ฟันคุดที่อยู่ผิดตำแหน่งอาจทำให้ฟันข้างเคียงไม่สามารถทำความสะอาดได้สะดวก เศษอาหารอาจติดค้างอยู่และทำให้เกิดฟันผุได้ ในกรณีรุนแรงอาจต้องถอนฟันข้างเคียงออกไปด้วย
ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงศัลยกรรมช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล มหาวิทยาลัยมหิดล
เพื่อป้องกันการเกิดถุงน้ำ หรือเนื้องอกฟันคุดที่ทิ้งไว้นาน เนื้อเยื่อที่หุ้มรอบฟันคุดอาจจะขยายใหญ่ขึ้นกลายเป็นถุงน้ำแล้วโตขึ้นโดยไม่แสดงอาการเลย จนในที่สุดเกิดการทำลายฟันซี่ข้างเคียง และกระดูกรอบๆ บริเวณนั้น หากไม่เคยได้รับการตรวจฟันมักจะรู้ตัวอีกทีเมื่อเห็นใบหน้าเอียง หรือขากรรไกรข้างหนึ่งใหญ่กว่าอีกข้าง ซึ่งถ้าพบ และรีบทำการผ่าตัดออกได้เร็ว ช่วยลดการสูญเสียอวัยวะขากรรไกร ยังสามารถรักษารูปหน้าให้เหมือนเดิมได้ แต่ถ้าถุงน้ำหรือเนื้องอกมีขนาดใหญ่มากๆ ก็อาจต้องตัดขากรรไกรบางส่วนออกทำให้เสียรูปหน้าบริเวณนั้นได้
ถ้าฟันนั้นสามารถขึ้นมาได้ดีก็ไม่จำเป็นต้องถอน แต่ก็ควรให้ทันตแพทย์ตรวจเพราะบางทีอาจมีเหงือกคลุมบางส่วนของฟันอยู่ หรือเป็นฟันที่อยู่ในตำแหน่งที่ลึกมาก ไม่สามารถที่จะดูแลทำความสะอาดได้ง่าย อาจทำให้เกิดฟันผุ หรือมีกลิ่นปากได้ ทันตแพทย์ก็จะแนะนำให้ถอนฟันออก
คำถามน่ารู้เกี่ยวกับการผ่าฟันคุด-ถอนฟันคุด
การถอนฟันคุดเจ็บมั้ย ถ้ากลัวการผ่าฟันคุดต้องทำยังไง?
การผ่าฟันคุด จะเจ็บมั้ย ขอบอกว่าจริงๆแล้วไม่เจ็บอย่างที่คิด เนื่องจากทันตแพทย์จะมีการป้ายยาชาที่บริเวณเหงือก ก่อนที่จะฉีดยาชาเฉพาะที่เพื่อไม่ให้คนไข้รู้สึกเจ็บ ทั้งนี้ยังขึ้นอยู่กับลักษณะทิศทางของฟันของคนไข้อีกด้วย ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า ซึ่งมีทั้งแบบที่โผล่ขึ้นมาบางส่วน อาจโผล่แบบเอียง นอน หรือตั้งตรงก็ได้ และมีแบบไม่งอกเลยแต่ตัวฟันทั้งซี่ฝังอยู่ในกระดูกขากรรไกร ส่วนมากมักเกิดฟันคุดตรงฟันกรามซี่ในสุด
บทความที่เกี่ยวข้องกับการผ่าฟันคุดหรือถอนฟันคุด
ทันตแพทย์เฉพาะทางผ่าฟันคุด คือทันตแพทย์ที่ได้รับการฝึกอบรมเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงสร้างกระดูกขากรรไกรและใบหน้า รวมถึงเส้นประสาทที่มีอยู่มากมายบริเวณใบหน้า ดังนั้น การผ่าฟันคุดกับทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ถึงแม้อาจจะมีราคาที่สูงกว่าทันตแพทย์ทั่วไปอยู่บ้าง แต่ก็แลกมาด้วยข้อดีมากมาย ดังต่อไปนี้
แทนที่จะถอนฟันคุดซี่เดียว ก็ต้องถอนฟันที่อยู่ข้างเคียงด้วยเนื่องจากฟันที่ถูกชนผุไปด้วย
ในบางรายที่ถึงแม้ฟันกรามซี่ในสุดจะสามารถขึ้นมาได้อย่างปกติก็ตามทันตแพทย์ก็ยังอาจแนะนำให้ทำการถอนออกไป ถ้าเล็งเห็นว่าฟันซี่นั้นไม่มีประโยชน์ อาจมีผลกระทบต่อการบดเคี้ยวและฟันซี่ข้างเคียง หรือมีความเป็นไปได้ที่จะเป็นสาเหตุก่อให้เกิดโรคเหงือกหรือการอักเสบบริเวณนั้นได้ เนื่องจากการดูแลรักษาความสะอาดบริเวณด้านในสุดของช่องปากนั้นมีความยากลำบาก ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้ฟันกรามซี่หลังนั้นสามารถผุได้ง่าย รวมถึงการอักเสบของเหงือกอีกด้วย อย่างไรก็ตามทันตแพทย์จะพิจารณาอาการและปัญหาพร้อมวิธีการแก้ปัญหาที่แตกต่างกันไปของผู้เข้ารับบริการแต่ละบุคคล
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย